สล็อตเว็บตรง , ฝากถอนไม่มีขั้นต่ำ เว็บตรง ม.มหิดล เปิดวิเคราะห์มาตรฐาน ฟ้าทะลายโจร ด้วยวิธีHPLC ให้ประชาชน

สล็อตเว็บตรง , ฝากถอนไม่มีขั้นต่ำ เว็บตรง ม.มหิดล เปิดวิเคราะห์มาตรฐาน ฟ้าทะลายโจร ด้วยวิธีHPLC ให้ประชาชน

สล็อตเว็บตรง , ฝากถอนไม่มีขั้นต่ำ เว็บตรง หนึ่งในสมุนไพร “Champion Products” ตามยุทธศาสตร์พัฒนาเศรษฐกิจชาติ ซึ่งอยู่ในบัญชียาของทั้ง WHO และไทย ได้แก่ “ฟ้าทะลายโจร” ซึ่งเมื่อเร็วๆ นี้ ได้มีประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2564 ระบุว่ายาสารสกัดจากฟ้าทะลายโจร และยาจากผงฟ้าทะลายโจรสามารถใช้กับผู้ป่วยติดเชื้อไวรัส COVID-19 ที่มีอาการไม่รุนแรงได้

รองศาสตราจารย์ ดร.เภสัชกรหญิงปองทิพย์ สิทธิสารอาจารย์ประจำภาควิชาเภสัชวินิจฉัย 

และหัวหน้าฝ่ายศูนย์วิเคราะห์คุณภาพผลิตภัณฑ์ ฝ่ายสมุนไพร หรือ “CAPQ สมุนไพร” คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้กล่าวถึงคุณสมบัติเด่นของสมุนไพรฟ้าทะลายโจรว่า ใช้บรรเทาอาการของโรคหวัด อย่างเช่น ไอ เจ็บคอ น้ำมูกไหล และมีไข้ซึ่งการจะทำให้ได้มาซึ่งตัวยาที่ใช้รักษาบำบัดโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ จำเป็นต้องผ่านการตรวจวิเคราะห์ที่ได้มาตรฐาน

ด้วยบทบาทของการเป็น “ปัญญาของแผ่นดิน” ที่พึ่งพาของประชาชนชาวไทยด้านวิชาการเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล จึงให้บริการประชาชนในเรื่องการวิเคราะห์มาตรฐานสมุนไพรฟ้าทะลายโจร ด้วยวิธี HPLC (High Performance Liquid Chromatography) ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้วิเคราะห์สารสำคัญในสมุนไพรในเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ เพื่อเพิ่มความมั่นใจให้กับผู้บริโภค

บัญชียาหลักของชาติมีการระบุปริมาณของสารแอนโดรกราโฟไลด์ (Andrographolide) ที่อยู่ในสมุนไพรฟ้าทะลายโจรสำหรับการรักษาอาการของโรคหวัดว่า ผู้ป่วยจะต้องได้รับปริมาณของสารแอนโดรกราโฟไลด์ประมาณ 60 – 120 มิลลิกรัมต่อวัน ซึ่งหากสมุนไพรได้รับการวิเคราะห์ที่ถูกต้องจะนำไปสู่การใช้อย่างเหมาะสม

“CAPQ สมุนไพร” คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลเปิดให้บริการตรวจวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญในผลิตภัณฑ์สมุนไพรฟ้าทะลายโจร โดยผู้สนใจสามารถติดต่อส่งตัวอย่างสมุนไพรฟ้าทะลายโจร ทั้งที่เป็นวัตถุดิบ สารสกัด และผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป เพื่อวิเคราะห์สารแอนโดรกราโฟไลด์ด้วยวิธี HPLC ได้ที่โทร.096-8123539 E-mail: mucapqnp@gmail.com, https://pharmacy.mahidol.ac.th/capq/np LINE ID: capqnp

ชาวเน็ตรุมจวก ดราม่า ครูด่าลูกศิษย์ ที่ได้โพสต์แสดงความเห็นเกี่ยวกับการเมือง ประเด็นม็อบ 18 กรกฎา ซึ่งเจ้าหน้าที่ใช้ความรุนแรงควบคุมฝูงชน วันที่ 20 ก.ค.64 ทวิตเตอร์ Red Skull ได้ทวิตข้อความ “ครู รร ….ด่าลูกศิษตัวเองที่แชร์เรื่องการเมืองคนับ” พร้อมภาพแคปแชทซึ่งเป็นการโพสต์แสดงความเห็น โดยมีข้อความว่า แค่พวกเราอยากมีชีวิตที่ดีขึ้นมันร้ายแรงขนาดนั้นเลยหรอ? ทำไมต้องใช้ความรุนแรง พร้อมสัญลักษณ์สามขีด

จากนั้น ครูท่านดังกล่าวได้มาโพสต์ตอบว่า “ส่องกระจกชะโงกดูสันดานม็อบว่ารุนแรงมั้ย ทั้งด่าทอ ทำร้ายจนท” ต่อมาก็มีการตอบโต้กันหลายข้อความ ระหว่างครู กับผู้ที่เข้ามาแสดงความเห็นรายอื่นๆ ซึ่งเต็มไปด้วยการใช้คำที่หยาบคาย และหลังจากทวิตดังกล่าวเผยแพร่ไม่นาน ต่างก็มีแอคเคาท์จำนวนมากที่เข้ามาวิจารณ์ถึงการใช้คำพูดที่หยาบคายนั้นเหมาะสมแล้วหรือไม่

แจงดราม่า ตำรวจล็อกล้อ รถไอติมช่วงโควิด ยันไม่มีเจตนาซ้ำเติมประชาชน

ดราม่า ตำรวจล็อกล้อ รถไอศกรีมช่วงโควิด ยืนขอร้อง อย่าจับ แต่สุดท้ายไม่รอด ต้นเหตุ แท็กซี่โดนก่อน ท้วงเจ้าหน้าที่รถไอติมคันหลังก็ผิดทำไมไม่จับ เมื่อวันที่ 19 ก.ค.64 ผู้ใช้เฟซบุ๊กชื่อ Yun Toyosang ได้โพสต์ภาพเหตุการณ์เจ้าหน้าที่ตำรวจจราจร กำลังล็อกล้อรถ รถขายไอศกรีม บริเวณหน้าตลาดประชานิเวศน์ 1 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร โดยระบุว่า

น่าเห็นใจ ..”พ่อค้าไอติม” ที่ถูกล็อกล้อรถ ยืนหน้าเศร้า ถกเถียงกับ “คุณตำหนวด” พร้อมอ้อนวอนขอความกรุณา “อย่าจับ” เลย เพราะวันนี้ยังขายไม่ได้ เงินก็ไม่มี หนี้สินก็บานเบอะ แถมเศรษฐกิจก็ผุพัง มาจอดไม่ถึง 2 นาที เพื่อหาเงิน ก็โดนแล้ว ลูก-เมีย ผมรอกินข้าว กำไรวันละไม่ถึง 1 พัน เสียค่าปรับไป ผมหมดตัวแน่!!!

อย. ได้ออกมายืนยันว่า ไม่ ขึ้นภาษีผ้าอนามัยแบบสอด แน่นอน เผยสาเหตุเปลี่ยนประเภทเพื่อให้เข้ากับนิยามที่กำหนดเอาไว้ ภญ.สุภัทรา บุญเสริม ผู้ทรงคุณวุฒิด้านมาตรฐานผลิตภัณฑ์ด้านสาธารณสุข และรักษาการรองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เปิดเผยว่า ตามที่กฎกระทรวงกําหนดให้ผ้าอนามัยชนิดสอดจัดเป็น เครื่องสําอาง โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 19 ก.ค.2564 นั้น

อย. ชี้แจงว่า ผ้าอนามัยทั้งแบบใช้ภายนอกและชนิดสอด ถูกจัดเป็นเครื่องสําอางตาม พ.ร.บ.เครื่องสําอาง มาโดยตลอด ซึ่งเป็นไปตามคํานิยามของเครื่องสําอางที่เป็นวัตถุที่มุ่งหมายสําหรับใช้ทา ถู นวด โรย พ่น หยอด ใส่ อบ หรือกระทําด้วยวิธีอื่นใดต่อส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายเพื่อความสะอาด ฯลฯ

แต่เมื่อ พ.ร.บ.เครื่องสําอาง พ.ศ. 2558 มีผลบังคับใช้ ได้กําหนดนิยามของเครื่องสําอางให้ใช้เฉพาะภายนอกร่างกาย จึงทําให้ผ้าอนามัยชนิดสอดไม่เข้าข่ายเป็นเครื่องสําอาง เนื่องจากมีการสอดเข้าไปในร่างกาย ไม่สอดคล้องกับคํานิยามดังกล่าว แต่เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค กระทรวงสาธารณสุข โดย อย. จึงเห็นสมควรออกกฎกระทรวงให้ผ้าอนามัยชนิดสอดเป็นเครื่องสําอางดังเดิม เพราะจะได้กํากับดูแลให้ผลิตภัณฑ์ได้มาตรฐานความปลอดภัย ควบคุมการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์ รวมทั้งมีการแสดงคําเตือนที่ฉลาก เพื่อให้ผู้บริโภคได้ศึกษาทําความเข้าใจก่อนใช้ผลิตภัณฑ์ สล็อตเว็บตรง , ฝากถอนไม่มีขั้นต่ำ เว็บตรง